หน้า: 1 2 3 [4]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: การบ้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ ครั้งที่ 3  (อ่าน 25563 ครั้ง)
3571050641339
Newbie
*
กระทู้: 11


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #45 เมื่อ: 26 สิงหาคม 2016, 05:09:19 pm »

A: เราทำการวิเคราะห์คู่แข่งขันเพื่ออะไรและนำข้อมูลที่ได้ไปทำอะไร
Q: การวิเคราะห์คู่แข่งขันก็เพื่อสือทราบให้ได้ว่า ขณะนี้คู่แข่งกำลังทำอะไร และจะทำอะไรต่อไป และการกระทำนั้นมีผลกระทบต่อบริษัทอย่างไร ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ทั้งหมด จะนำมาเลือกสรรเป็นปัจจัยกลยุทธ์ 2 ตัว คือโอกาส และอุปสรรคของบริษัทเพื่อวางแผนกลยุทธ์ต่อไป

ที่มา:หนังสือหน้า 73
นางสาวสุพัตรา ถิตย์รัศมี เลขที่ 17 ห้อง ป.กบช.3/3
บันทึกการเข้า
3571050641335
Newbie
*
กระทู้: 11


ดูรายละเอียด
« ตอบ #46 เมื่อ: 26 สิงหาคม 2016, 05:14:49 pm »

Q : "กลุ่มผูัมีส่วนได้เสียกับองค์กร" หมายถึงคนกลุ่มใด
A : กลุ่มที่มีผลกระทบหรือถูกกระทบจากการดำเนินกิจการต่างๆขององค์การ

จากหนังสือหน้า 62

นายอภิสิทธิ์  ต่างสมบูรณ์  ป.กบช. 3/3
รหัสนักศึกษา 3571050641335

บันทึกการเข้า
3571050641202
Newbie
*
กระทู้: 11


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #47 เมื่อ: 26 สิงหาคม 2016, 07:07:58 pm »

Q: ตัวแบบพลังผลักดัน 5 ประการ จะมีปัจจัย 5 ประการ ที่จะเป็นตัวกำหนดสภาวะการแข่งขัน อันจะมีผลต่ออะไร
A: อันจะมีผลต่อศักยภาพการทำกำไรและการดึงดูดใจในการอุตสาหกรรมนั้น

จากหนังสือหน้าที่ 54
นาย กัมปนาท ควรขจร ป.กบช.3/2
รหัสนักศึกษา 3571050641202
บันทึกการเข้า
3571050641307
Newbie
*
กระทู้: 11


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #48 เมื่อ: 26 สิงหาคม 2016, 08:10:34 pm »

Q: ตัวกำหนดอำนาจต่อรองของผู้ซื้อ (Determinants of Buyer Power) มีอะไรบ้าง
A: 1.ผู้ซื้อในส่วนมาก เมื่อเทียบกับยอดขายรวมทั้งหมดของผู้ขาย
    2.ผู้ซื้อสามารถเลือกผู้ขายได้มาก เพราะผลิตภัณฑ์เป็นผลิตภัณฑ์มาตรฐาน และไม่แตกต่างกัน
    3.ต้นทุกในการเปลี่ยนไปซื้อจากผู้ขายรายอื่นน้อยมาก
    4.ผู้ซื้อมีข้อมูลอย่างดีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผู้ขาย
    5.ผู้ซื้อมีกำไรต่ำ จึงถือความแตกต่างด้านราคาและบริการของผู้ขายเป็นสิ่งสำคัญ

จากหนังสือหน้า 59-60
น.ส.วิภารัตน์  ยศหนองทุ่ง  ป.กบช.3/3
รหัสนักศึกษา 3571050641307
บันทึกการเข้า
3571050641331
Newbie
*
กระทู้: 11


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #49 เมื่อ: 28 สิงหาคม 2016, 05:37:26 pm »

Q : บริษัทที่มีอยู่เดิมในอุตสาหกรรมนั้น (Existing firms) จะพยายามหาทางปกป้องมิให้คู่แข่งรายใหม่ (New entrants)  ด้วยการสร้างสิ่งใด? เพื่ออะไร? มีวิธีการอย่างไรบ้าง?
A : ด้วยการสร้าง ขวากหนามป้องกันการบุกรุก (Barriers to entry) เพื่อสร้างความท้อแท้ให้กับคู่แข่งขันหน้าใหม่ มีวิธีกากระทำดังนี้
1. การประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of Scale)
2. ความต้องการเงินทุน (Capital Requirements)
3. การสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation)
4.ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนแปลงไปใช้สินค้าใหม่ (Switching Costs)
5. การเข้าถึงช่องทางการจัดจำหน่าย (Access to Distribution)

นางสาวอัลฮูดา อูมา ป.กบช3/3
รหัสนักศึกษา3571050641331
จากหนังสือบทที่3 หน้า56


บันทึกการเข้า
3571050641332
Newbie
*
กระทู้: 11


ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #50 เมื่อ: 29 สิงหาคม 2016, 01:23:19 am »

Q: ในหัวข้อ ขวากหนามการเข้าสู่อุตสาหกรรม จงยกตัวอย่าง "การเข้าถึงช่องทางการจัดจำหน่าย" ว่าเป็นในลักษณะใด
A: ตัวอย่างเช่น บริษัท Procter and Gamble จะใช้วิธีนำผลิตภัณฑ์ของตนทุกสายผลิตภัณฑ์วางจำหน่ายในชั้นวางของในร้านเต็มชั้นตลอดเวลา จนแทบไม่มีช่องว่างเหลือไว้สำหรับคู่แข่งรายอื่นเลย การที่คู่แข่งรายใหม่จะเจาะเข้ามาใช้ช่องทางจัดจำหน่ายเหล่านี้ได้ก็จะต้องเสนอสิ่งจูงใจให้กับช่องทางจำหน่ายเดิมที่สูงและแพงมากเท่านั้นจึงจะมีทางเป็นไปได้ คู่แข่งหน้าใหม่มักจะเกิดความท้อแท้ใจจึงนับเป็นอุปสรรคสำคัญของการเข้าสู่อุตสาหกรรมใหม่อย่างหนึ่ง

น.ส.เกศศิรินทร์   ทำทอง ป.กบช.3/3
รหัสนักศึกษา 3571050641332
จากหนังสือหน้า 57
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 [4]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: